แผนยุทธศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ระยะ 5 ปี (พศ. 2566 - 2570)
EDU - NRRU STRATEGIC PLAN 2023-2027
O1 บัณฑิตที่มีคุณภาพตามผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรและมาตรฐานวิชาชีพ สามารถตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น
O2 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีสมรรถนะสูงในวิชาชีพ
O3 บัณฑิตครูเก่งศาสตร์ เก่งสอน และมีจิตวิญญาณแห่งความเป็นครู
1. จัดการศึกษารูปแบบองค์รวมที่สร้างสมรรถนะ ทั้งความรู้ ทักษะและจิตวิญญาณความเป็นครู
ในรูปแบบจัดการศึกษาระบบผสมผสาน (Blended System) ตลอดจนใช้การวิจัยและปัญหาเป็นฐานการเรียนรู้ พัฒนาศักยภาพด้านการออกแบบ สร้างและถ่ายทอดนวัตกรรมการศึกษา สร้างทักษะการเรียนรู้แบบใหม่และการทำงานเป็นทีม
2. พัฒนาระบบและดำเนินการการให้บริการการจัดการศึกษาแบบ 360 องศา Up-Skill, Re-Skill, New-Skill และการใช้ประโยชน์ร่วม เรียกว่า EDU Complex ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ นักเรียน นักศึกษา บุคลากร และแหล่งเรียนรู้ของหน่วยงานสังกัดคณะ คณะร่วมผลิต โรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น
3. ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว และริเริ่มพัฒนาหลักสูตร Multi-degree ตลอดจนจัดระบบการบริหาร จัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัย เน้น Active Learning และ Competency Based บูรณาการผ่าน EDU Complex ตอบโจทย์ความต้องการของนักเรียน โรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น สังคมและประเทศ
4. เพิ่มและสร้างโอกาสในการเรียนรู้หลักสูตรครู และจัดระบบ ดำเนินการเพื่อการจัดการศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวัย
5. สร้างกลไกความร่วมมือในการพัฒนาและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคณาจารย์ภายในคณะและคณะร่วมผลิต และครูผู้เชี่ยวชาญในเครือข่ายและสานความเข้มแข็งชมรมศิษย์เก่า เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาร่วมกัน
6. สร้างระบบและดำเนินการ การให้คำปรึกษาทางจิตวิทยาและการให้บริการทางวิชาการแก่นักศึกษารอบด้านอย่างต่อเนื่องและเสริมสร้างความโดดเด่นกิจการนักศึกษาเชิงรุก
7. พัฒนาและขับเคลื่อนระบบความสัมพันธ์ ความร่วมมือรวมพลังระหว่างคณะและโรงเรียนในเครือข่าย ตลอดจนศิษย์เก่าและร่วมมือสถานศึกษาต้นแบบทั้งในประเทศและต่างประเทศเข้าร่วมในการพัฒนานักศึกษาร่วมกัน
8. พัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและจัดทำสื่อฯ นวัตกรรมการเรียน การสอนต้นแบบคุณภาพทั้งสอนในชั้นเรียนและผสมผสานร่วมกับออนไลน์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษา
ที่
|
ตัวชี้วัด
|
หน่วยนับ
|
เป้าหมาย
|
||||
2566
|
2567
|
2568
|
2569
|
2570
|
|||
1
|
ร้อยละของนักศึกษาปริญญาตรี และบัณฑิตที่บรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) รายชั้นปีของหลักสูตร
|
ร้อยละ
|
50
|
70
|
80
|
90
|
100
|
2
|
จำนวนหลักสูตรระยะสั้นเพื่อ Up-Re-New Skill ให้กับศิษย์เก่าและประชาชน
|
หลักสูตร
|
2
|
2
|
2
|
2
|
2
|
3
|
ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตวิชาชีพครู (ร้อยละตอบที่ระดับมาก-มากที่สุด)
|
ร้อยละ
|
80
|
80
|
80
|
80
|
80
|
4
|
จำนวนครูประจำการและบุคลากรทางการศึกษา ที่ได้รับการพัฒนาเพื่อยกระดับสมรรถนะ
|
คน
|
300
|
400
|
500
|
500
|
500
|
5
|
มีหลักสูตร Multi-degree ตามความต้องการบัณฑิต ที่สนองตอบความต้องการชุมชน ท้องถิ่น และประเทศ
|
หลักสูตร
|
-
|
1
|
1
|
1
|
1
|
6
|
จำนวนหลักสูตรที่จัดการเรียนรู้แบบ Active learning โดยประยุกต์ใช้ระบบ Blended System
|
หลักสูตร
|
2
|
3
|
3
|
4
|
4
|
7
|
ร้อยละของบัณฑิตครูที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายในระยะเวลา 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา
|
ร้อยละ
|
70
|
75
|
80
|
85
|
90
|
8
|
ร้อยละของบัณฑิตที่ใช้วิชาชีพครูในการประกอบอาชีพ
|
ร้อยละ
|
60
|
65
|
70
|
75
|
80
|
9
|
ร้อยละของบัณฑิตที่สอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูได้ในปีแรก
|
ร้อยละ
|
60
|
65
|
70
|
75
|
80
|
10
|
จำนวนโรงเรียนร่วมผลิตครูที่ได้รับการพัฒนาเป็นต้นแบบด้านการจัดการศึกษา
|
โรงเรียน
|
10
|
12
|
14
|
16
|
18
|
11
|
จำนวนโครงการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตวิชาชีพครู
|
โครงการ
|
8
|
8
|
10
|
10
|
10
|
12
|
ระบบบริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแก่นักศึกษาของคณะ
|
ระบบ
|
1
|
1
|
1
|
1
|
1
|
13
|
ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อระบบการให้คำปรึกษาและการให้การบริการของคณะ (มาก-มากที่สุด)
|
ร้อยละ
|
80
|
80
|
80
|
80
|
80
|
14
|
มีการจัดกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ของศิษย์เก่าและปูชนียบุคคลต้นแบบของโรงเรียนเครือข่ายสู่นักศึกษาครู
|
จำนวน
|
19
|
19
|
19
|
19
|
19
|
15
|
จำนวนนวัตกรรมการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นในแต่ละปี
|
นวัตกรรม
|
1
|
2
|
3
|
4
|
5
|
16
|
มีระบบบริการการจัดการศึกษาแบบ 360 องศา Up-Skill, Re-Skill, New-Skill และการใช้ประโยชน์ร่วม เรียกว่า EDU Complex
|
ระบบ
|
-
|
1
|
1
|
1
|
1
|
O1 เพิ่มศักยภาพการวิจัยทางการศึกษาเพื่อรองรับการสร้างนวัตกรรมการศึกษา
O2 พัฒนางานวิจัยที่มุ่งสร้างองค์ความรู้หรือสร้างนวัตกรรมการศึกษาเพื่อการใช้ประโยชน์ในท้องถิ่นด้วยกลไกความร่วมมือของเครือข่ายโรงเรียนร่วมผลิตครู
O3 มีเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยทางการศึกษา
1. พัฒนาระบบและกลไกของการพัฒนางานวิจัยทางการศึกษาคณะครุศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์ในท้องถิ่น
2. พัฒนาครูของครู ครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่การเพื่อสร้างนวัตกรรมการศึกษา
3. ส่งเสริมความเข้มแข็งด้านการวิจัยทางการศึกษา เครือข่ายโรงเรียนพัฒนาวิชาชีพครู
ที่ |
ตัวชี้วัด |
หน่วยนับ |
เป้าหมาย |
||||
2566 |
2567 |
2568 |
2569 |
2570 |
|||
1 |
ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติ |
ร้อยละ |
20 |
30 |
40 |
50 |
60 |
2 |
จำนวนโครงการวิจัยที่ทำงานเป็นทีมและมีผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์ในท้องถิ่น |
โครงการ |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
3 |
จำนวนโครงการความร่วมมือกับท้องถิ่น ภาคธุรกิจ หรือภาคอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนานวัตกรรมการศึกษา |
โครงการ |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
4 |
ยกระดับวารสารของคณะเข้าสู่มาตรฐานระดับชาติ |
จำนวน |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
5 |
จำนวนคณาจารย์/บุคลากรของคณะได้รับการพัฒนาทักษะด้านการวิจัย |
ร้อยละ |
50 |
60 |
70 |
80 |
90 |
6 |
จำนวนงานวิจัย/ นวัตกรรมการศึกษาของนักศึกษาที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง |
ร้อยละ |
30 |
40 |
50 |
60 |
70 |
7 |
จำนวนงานวิจัย/นวัตกรรมที่มีการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาและจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ |
จำนวน |
≥3 |
≥5 |
≥5 |
≥5 |
≥5 |
8 |
มีคลินิกวิจัย กลุ่มนักวิจัย เครือข่ายด้านการวิจัยทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา |
จำนวน |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
O1 เสริมสร้างความเข้มแข็งในวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา
O2 บูรณาการการใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่
1. สร้าง ส่งเสริม สนับสนุนการบริการวิชาการที่ตอบโจทย์ความต้องการของพื้นที่และประเทศ
2. สร้างระบบและดำเนินการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากร ให้เป็นเลิศในสาขาและบูรณาการร่วมกันกับสาขาอื่นภายใต้ความร่วมมือ
3. จัดทำระบบและฐานข้อมูลครู (Data Base) เพื่อเป็นสารสนเทศสู่การวางแผนและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีขีดสมรรถนะสูงสุดและกำกับ ติดตาม พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน
ที่ |
ตัวชี้วัด |
หน่วยนับ |
เป้าหมาย |
||||
2566 |
2567 |
2568 |
2569 |
2570 |
|||
1 |
จำนวนโครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่าของคณะ |
โครงการ |
5 |
5 |
5 |
5 |
5 |
2 |
จำนวนโครงการที่ให้บริการวิชาการแบบสร้างรายได้ |
โครงการ |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
3 |
จำนวนโรงเรียนร่วมผลิตครูที่ได้รับการพัฒนาเป็นต้นแบบด้านการจัดการศึกษา |
โรงเรียน |
10 |
12 |
14 |
16 |
18 |
4 |
เครือข่ายความร่วมมือบริการวิชาการ |
เครือข่าย |
3 |
3 |
3 |
3 |
3 |
5 |
มีศูนย์บริการด้านการทดสอบทางการศึกษา การศึกษาพิเศษกิจการเพื่อสังคม และการบริการด้านสุขภาวะ |
จำนวน |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
O1 ส่งเสริม ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและความเป็นไทย
1. อนุรักษ์ ส่งเสริมและเป็นผู้นำต้นแบบขององค์การ การจัดและปฏิบัติกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย
2. สืบสาน ต่อยอด และสร้างศิลปวัฒนธรรม งานสร้างสรรค์ของโคราชและท้องถิ่นอีสาน
ที่ |
ตัวชี้วัด |
หน่วยนับ |
เป้าหมาย |
||||
2566 |
2567 |
2568 |
2569 |
2570 |
|||
1 |
มีโครงการหรือกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมโคราชและท้องถิ่นอีสาน |
โครงการ |
5 |
5 |
5 |
5 |
5 |
2 |
กิจกรรมรายวิชาที่เกี่ยวกับการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม |
กิจกรรม |
3 |
3 |
3 |
3 |
3 |
3 |
มีโครงการหรือกิจกรรมการสืบสาน ประวัติศาสตร์เมืองโคราชของคณะ |
โครงการ/กิจกรรม |
- |
1 |
1 |
1 |
1 |
4 |
มีโครงการหรือกิจกรรมในเชิงบูรณาการ สร้างสรรค์ของโคราชและท้องถิ่นอีสาน |
โครงการ/กิจกรรม |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
O1 มีระบบการบริหารจัดการที่ดีและสอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาขององค์กรอย่างยั่งยืน Environment Social and Governance
O2 สร้างองค์การต้นแบบด้านการผลิตบัณฑิตครู โดยกระบวนการร่วมจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา (SIL)
O3 สร้างองค์การต้นแบบด้านการจัดการศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาฝ่ายประถมศึกษา และฝ่ายมัธยมศึกษา
O4 สร้างองค์การต้นแบบด้านการจัดการศึกษาพิเศษ
1. สร้างองค์การต้นแบบด้านการศึกษา และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร ยึดหลักธรรมาภิบาล
2. สร้างความตระหนักและจิตวิญญาณความเป็นครูของครู และพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร
3. สร้างความมั่นคง ความสุขในอาชีพและการทำงานของบุคลากรและส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กร การทำงานเป็นทีมและให้เกียรติการทำงานซึ่งกันและกัน
ที่ |
ตัวชี้วัด |
หน่วยนับ |
เป้าหมาย |
||||
2566 |
2567 |
2568 |
2569 |
2570 |
|||
1 |
เป็นองค์การต้นแบบด้านการศึกษา |
||||||
1.1 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตครู (มาก-มากที่สุด) |
ร้อยละ |
80 |
80 |
80 |
80 |
80 |
|
1.2 ความพึงพอใจของผู้ปกครองที่ส่งบุตรหลานมาเรียนที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาฝ่ายประถมศึกษา และฝ่ายมัธยมศึกษา (มาก-มากที่สุด) |
ร้อยละ |
80 |
80 |
80 |
80 |
80 |
|
1.3 ความพึงพอใจของผู้ปกครองที่ส่งบุตรหลานมาเรียนที่ศูนย์การศึกษาพิเศษ (มาก-มากที่สุด) |
ร้อยละ |
80 |
80 |
80 |
80 |
80 |
|
2 |
มีโรงเรียนต้นแบบด้านการจัดการศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาฝ่ายประถมศึกษา และฝ่ายมัธยมศึกษา |
โรงเรียน |
- |
2 |
- |
- |
- |
3 |
ผลการประเมินความเสี่ยงและประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณและทรัพย์สิน (น้อย-น้อยมาก) |
ระดับ |
น้อย |
น้อย |
น้อยมาก |
น้อยมาก |
น้อยมาก |
4 |
ผลการประเมินตามค่าเป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์คณะ |
บรรลุ/ไม่บรรลุ |
บรรลุ |
บรรลุ |
บรรลุ |
บรรลุ |
บรรลุ |
5 |
ผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะ |
ระดับ |
ดี |
ดี |
ดี |
ดีมาก |
ดีมาก |
6 |
ผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร |
ระดับ |
ดี |
ดี |
ดี |
ดีมาก |
ดีมาก |
7 |
การศึกษาแบบนำร่อง (Pilot Study) หลักสูตรละ 1 กิจกรรม คืนครูของครูสู่ท้องถิ่น |
กิจกรรม |
- |
19 |
19 |
19 |
19 |
8 |
ร้อยละของอาจารย์ที่มีตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ขึ้นไป |
ร้อยละ |
65 |
67 |
69 |
71 |
75 |
9 |
ร้อยละของครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาที่มีวิทยฐานะชำนาญการขึ้นไป |
ร้อยละ |
- |
20 |
25 |
30 |
35 |
10 |
ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนที่เลื่อนตำแหน่งจากปฏิบัติการเป็นชำนาญการ/ชำนาญงานขึ้นไป |
ร้อยละ |
- |
10 |
12 |
14 |
16 |
11 |
ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการปฏิบัติงานของบุคคลากรสายสนับสนุน |
ระดับ |
ดีขึ้นไป |
ดีขึ้นไป |
ดีขึ้นไป |
ดีขึ้นไป |
ดีขึ้นไป |
12 |
ร้อยละของคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนที่มีผลปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนพัฒนารายบุคคล (ID Plan) |
ร้อยละ |
80 |
80 |
80 |
80 |
80 |
13 |
ความพึงพอใจของคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนที่มีต่อการบริหารของคณะ |
ระดับ |
ดี |
ดี |
ดีขึ้นไป |
ดีขึ้นไป |
ดีขึ้นไป |
14 |
มีแผนการปรับปรุงและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพและสิ่งแวดล้อม |
แผน |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
15 |
โครงการสร้างอาคารคณะครุศาสตร์และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาฝ่ายมัธยม |
โครงการ |
1 |
1 |
1 |
- |
- |